AN UNBIASED VIEW OF ฟันคุดแบบไหนไม่ต้องผ่า

An Unbiased View of ฟันคุดแบบไหนไม่ต้องผ่า

An Unbiased View of ฟันคุดแบบไหนไม่ต้องผ่า

Blog Article

อาหารแข็งหรือเหนียว เช่น เนื้อสัตว์ชิ้นใหญ่ ผักแข็ง ผลไม้เปลือกแข็ง ถั่ว ขนมปังกรอบ

ฟันคุดหรือฟันกรามซี่สุดท้าย จำเป็นต้องมีการถอน หรือผ่าออก โดยทันตแพทย์เฉพาะทางศัลยกรรมช่องปาก เพราะว่าอยู่ในลักษณะที่ไม่สามารถเกิดขึ้นได้ตามปกติ หรือไม่ได้อยู่ในแนวที่เดียวกับฟัน ส่วนมากฟันคุดจะเกิดขึ้นในช่วงวัยรุ่นตอนปลาย หรือช่วงอายุยี่สิบต้นๆ หากปล่อยฟันคุดไว้จะมีความเสี่ยงต่อภาวะต่างๆ

ฟันกรามที่ขึ้นมาในลักษณะเอียง จะทำให้มีเศษอาหารเข้ามาติดระหว่างซอกฟันบริเวณข้างเคียง ไม่สามารถทำความสะอาดได้อย่างทั่วถึง เกิดปัญหากลิ่นปาก รวมทั้งฟันผุบริเวณซอกฟันข้างเคียงได้ค่ะ

อาจสังเกตเห็นชิ้นเนื้อเยื่อเหงือก ต้องแยกให้ออกว่าไม่ใช่เศษอาหาร: เนื้อเยื่อของเหงือกที่กำลังจะหาย จะเป็นชิ้น ๆ มีลักษณะเป็นสีขาวอมเทา หรือสีซีด ๆ และไม่สามารถดึงหรือเขี่ยออกจากแผลได้ ดังนั้น จึงต้องระวังว่าชิ้นเนื้อนั้นไม่ใช่เศษอาหาร การทำความสะอาดแผลที่รุนแรง หรือการพยายามเขี่ยเอาเศษชิ้นเนื้อออกจะทำให้เกิดความเจ็บปวด และถ้าหากชิ้นเนื้อดังกล่าวหลุดออกมา จะทำให้เกิดการติดเชื้อที่แผลผ่าฟันคุดได้

ยอมรับทั้งหมด จัดการความเป็นส่วนตัว

ฟันคุดต้องผ่าไหม ฟันคุดแบบไหนไม่ต้องผ่า ขึ้นอยู่กับปริมาณเหงือกหรือกระดูกที่คลุมฟันคุดอยู่ ต้องมีการผ่าเหงือกหรือกรอกระดูกเพื่อให้สามารถเอาฟันคุดออกมาได้ และ ทิศทางการขึ้นของฟันคุด ถ้าทิศทางการขึ้นของฟันคุดเอียงมากๆ ก็จะต้องมีการแบ่งฟันให้ชิ้นเล็กลงเพื่อจะได้นำฟันออกมาได้

อย่างไรก็ตาม เพื่อลดโอกาสเกิดปัญหาแทรกซ้อนและผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ ในกรณีที่ยากและซับซ้อน ควรทำการผ่าฟันคุดกับทันตแพทย์เฉพาะทางด้านศัลยศาสตร์ช่องปาก ในคลินิกหรือโรงพยาบาลที่มีเครื่องมือและอุปกรณ์ทันตกรรมพร้อม มีระบบการปลอดเชื้อที่ได้มาตรฐาน

เนื่องจากบุหรี่จะส่งผลให้แผลจากการผ่าตัดฟันคุดหายยากขึ้น และมีโอกาสเกิดผลแทรกซ้อนหลังการผ่าตัดได้มาก ส่วนการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ก่อนการผ่าตัดจะส่งผลให้หลอดเลือดเกิดการขยายตัว มีผลทำให้เลือดหยุดช้ากว่าปกติ

สาเหตุของการเกิดโรคปริทันต์ (โรคเหงือก)

ทีมหมอถอนฟัน-ผ่าฟันคุด ทันตแพทย์ศัลยกรรม ที่คลินิกจัดฟันรัชดาภิเษก

ถอนฟันกรามซี่สุดท้ายที่ขึ้นได้ปกติ (ถอนฟันคุด)

เพื่อป้องกันการอักเสบของเหงือกที่ปกคลุมฟัน เพราะจะมีเศษอาหารเข้าไปติดอยู่ใต้เหงือกนั้นแล้วไม่สามารถทำความสะอาดได้ เชื้อแบคทีเรียที่มาสะสมอยู่จะทำให้เหงือกอักเสบ ปวด และบวมเป็นหนองมีกลิ่นมาก ถ้าทิ้งไว้การอักเสบจะลุกลามไปใต้คางหรือใต้ลิ้น ซึ่งจะทำให้เกิดการแพร่กระจายของเชื้อโรคไปยังส่วนอื่นๆ ของร่างกายได้ง่าย นับว่าเป็นอันตรายอย่างยิ่ง บางรายถ้าเหงือกอักเสบมาก และฟันคู่สบงอกยาวลงมากัดโดนเหงือก จะยิ่งทำให้อาการปวดรุนแรงมาก

หากมีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน โรคหัวใจ โรคตับอักเสบ ให้ปรึกษาทันตแพทย์ก่อน

ฟันคุดที่ขึ้นมาได้จำเป็นต้องถอนไหม

Report this page